จับตาการเรียงตัวของดาวเคราะห์และภัยพิบัติช่วงวันที่ 17 มกราคม ถึง 18 กุมภาพันธ์ 2012 update 26 มกราคม 13:09 UTC
ในบทความนี้เราจะทำการคาดการณ์เก็บสถิติภัยพิบัติอีกครั้ง โดยใช้สมมติฐานว่าภัยพิบัติสามารถคาดการณ์โดยการสังเกตปฏิกิริยาดวงอาทิตย์ และ การเรียงตัวของดาวเคราะห์ ทุกท่านสามารถคาดกาณ์ภัยพิบัติได้ด้วยตัวเองโดยจะให้สังเกตปฏิกริยาดวงอาทิตย์ในช่วงที่มีดาวเคราะห์เรียงตัว และ สังเกตภัยพิบัติในช่วงนั้นๆว่ามากกว่าวันอื่นๆหรือไม่ รวมทั้งการสังเกตภัยพิบัติในช่วงวันที่มีพายุสุริยะมากระทบโลก ซึ่งถ้าท่านผู้อ่านได้ติดตามการคาดการณ์มาตลอดจะพบว่า เราสามารถบ่งบอกวันที่ดวงอาทิตย์มีปฏิกิริยาสูงได้โดยดูตำแหน่งดาวเคราะห์หลักในระบบสุริยะ แต่จะไม่ครบทุกกรณีเนื่องจากมีวัตถุอื่นๆที่มีประจุไฟฟ้าในระบบสุริยะ เช่นดาวหาง หรือ วัตถที่ไม่สามารถระบุได้ใกล้ดวงอาทิตย์ จึงมีความจำเป็นในการสังเกตปฏิกิริยาดวงอาทิตย์ประกอบเสมอนอกเหนือจากการดูตำแหน่งของดาวเคราะห์
เราทำการคาดการณ์ในแบบที่ทุกคนสามารถทำได้โดยใช้การสังเกตธรรมชาติเป็นหลัก เพราะผลของการสังเกตนั้นไม่สามารถเปลี่ยนแปลงได้ แต่ถ้าเรานำกฏฟิสิกส์ในปัจจุบันที่มนุษย์สร้างขึ้นมาตีกรอบหรือสร้างกติกาในการมองธรรมชาติ จะไม่สามารถเห็นธรรมชาติอย่างที่เป็นอยู่หรืออย่างครบถ้วนได้
วันที่ควรสังเกตการเปลี่ยนแปลงที่โลกและดวงอาทิตย์มีดังนี้
ในกรณีที่พายุสุริยะไม่มีทิศทางมาทางโลกก็ควรสังเกตการเปลี่ยนแปลงของจุดดับว่ามีการเปลี่ยนแปลงอย่างฉับพลันหรือไม่ ซึ่งการเปลี่ยนแปลงอย่างฉับพลันของจุดดับนั้นมีความสัมพันธ์กับการเกิดแผ่นดินไหวบนโลกอย่างชัดเจน ตามสถิติในช่วงระหว่างปี คศ 2010 -2011 ที่ผ่านมา
ในวันที่ 16 มกราคม เกิดเหตุระเบิดขนาดใหญ่รอบด้านที่ดวงอาทิตย์ในเวลาประมาณ 5:24 UTC ซึ่งจะส่งผลกระทบต่อโลกในวันที่ 18-20 มกราคม ในรูปแบบของสภาพอากาศแปรปรวนอย่างมีนัยสำคัญ และมีความเสี่ยงต่อการเกิดแผ่นดินไหวเกิน 6.2 ริตเตอร์ ผู้ทำงานด้านการแจ้งเตือนภัยพิบัติโปรดติตตามสถานการณ์อย่างใกล้ชิด
ในวันทีเดียวกันปริมาณจุดดับยังเพิ่มสูงขึ้นอย่างต่อเนื่องจากวันที่ 15 มกราคม เป็นลางบอกเหตุว่าจะเกิดแผ่นดินไหวขนาด เกิน 6.2 ริตเตอร์ภายใน 3 วัน (หลังจากวันที่ 15 มกราคม)
วันที่ 18 มกราคม ดาวเทียม SDO ตรวจจับเปลวพลังงานขนาดใหญ่ แต่ยังไม่เกิดเป็นพายุสุริยะขึ้น ในขณะที่ปริมาณจุดดับมีแนวโน้มเพิ่มตัวสูงขึ้น
เราทำการคาดการณ์ในแบบที่ทุกคนสามารถทำได้โดยใช้การสังเกตธรรมชาติเป็นหลัก เพราะผลของการสังเกตนั้นไม่สามารถเปลี่ยนแปลงได้ แต่ถ้าเรานำกฏฟิสิกส์ในปัจจุบันที่มนุษย์สร้างขึ้นมาตีกรอบหรือสร้างกติกาในการมองธรรมชาติ จะไม่สามารถเห็นธรรมชาติอย่างที่เป็นอยู่หรืออย่างครบถ้วนได้
วันที่ควรสังเกตการเปลี่ยนแปลงที่โลกและดวงอาทิตย์มีดังนี้
วันที่ | แนวเรียงตัวของดาวเคราะห์ | วันที่ติตตามผลกระทบต่อโลก |
19-20 มกราคม | ดวงอาทิตย์-โลก-ดวงจันทร์ | 19-20, 21-24 มกราคม |
26 มกราคม | ดวงอาทิตย์ ดาวศุกร์ ดาวพฤหัส ดวงอาทิตย์ โลก ดวงจันทร์ | 26, 29-31 มกราคม |
31 มกราคม | ดวงอาทิตย์-ดาวพุธ-ดาวเสาร์ | 2-4 กุมภาพันธ์ |
2-3 กุมภาพันธ์ | ดวงอาทิตย์-โลก-ดวงจันทร์ ดวงอาทิตย์-โลก-ดาวพฤหัส | 2-3, 6-7 กุมภาพันธ์ |
6-7 กุมภาพันธ์ | ดวงอาทิตย์-ดาวพุธ-ดาวพฤหัส ดวงอาทิตย์-โลก-ดาวพุธ | 6-7, 9-11 กุมภาพันธ์ |
13-14 กุมภาพันธ์ | ดวงอาทิตย์-โลก-ดวงจันทร์ ดวงอาทิตย์-ดาวพุธ-ดาวศุกร์ | 13-14, 16-18 กุมภาพันธ์ |
17-18 กุมภาพันธ์ | ดวงอาทิตย์-ดาวพุธ-ทางช้างเผือก ดวงอาทิตย์-ดาวพุธ-ดาวยูเรนัส ดวงอาทิตย์-โลก-ดวงจันทร์ | 18, 21-23 กุมภาพันธ์ |
7 กุมภาพันธ์ 2012
14 กุมภาพันธ์ 2012
ส่วนภัยพิบัติบนโลกนั้นจะเกิดขึ้นในช่วงวันดังกล่าว และอาจมีความรุนแรงสูงอีก 3-4 วันหลังจากนั้นถ้าทิศทางพายุสุริยะนั้นมาทางโลก ซึ่งจะมีผลในรูปแบบของสภาพอากาศแปรปรวนเป็นหลัก และอาจมีปฏิกิริยาภูเขาไฟระเบิด หรือ แผ่นดินไหวเกิดขึ้นในกรณีที่พายุสุริยะไม่มีทิศทางมาทางโลกก็ควรสังเกตการเปลี่ยนแปลงของจุดดับว่ามีการเปลี่ยนแปลงอย่างฉับพลันหรือไม่ ซึ่งการเปลี่ยนแปลงอย่างฉับพลันของจุดดับนั้นมีความสัมพันธ์กับการเกิดแผ่นดินไหวบนโลกอย่างชัดเจน ตามสถิติในช่วงระหว่างปี คศ 2010 -2011 ที่ผ่านมา
คาดการณ์ภัยพิบัติโดยการสังเกตปฏิกริยาดวงอาทิตย์
การในคาดการณ์รูปแบบนี้จะเน้นการสังเกตภาพถ่ายมุมกว้างของดวงอาทิตย์ เพราะจะเห็นปฏิกริยาดวงอาทิตย์ในรูปแบบของพายุสุริยะอย่างชัดเจน นอกจากนั้นยังสังเกตปริมาณรังสี X ที่ปล่อยออกมา และการเปลี่ยนแปลงของจุดดับมาประกอบ เพื่อให้เกิดความแม่นยำในการคาดการณ์ผลกระทบต่อโลก ความรุนแรงของภัยพิบัติบนโลกนั้นจะแปรตาม มวล ความเร็ว และ มุมในการระเบิดของดวงอาทิตย์ ซึ่งเหตุการณ์ภัยพิบัติใหญ่จะเกิดขึ้นก็ต่อเมื่อ มีพายุสุริยะระเบิดเป็นมุมกว้าง มวลประจุไฟฟ้ามาก มีความเร็วสูง และมีการขยายตัวของจุดดับเป็นบริเวณกว้าง เป็นหลักในวันที่ 16 มกราคม เกิดเหตุระเบิดขนาดใหญ่รอบด้านที่ดวงอาทิตย์ในเวลาประมาณ 5:24 UTC ซึ่งจะส่งผลกระทบต่อโลกในวันที่ 18-20 มกราคม ในรูปแบบของสภาพอากาศแปรปรวนอย่างมีนัยสำคัญ และมีความเสี่ยงต่อการเกิดแผ่นดินไหวเกิน 6.2 ริตเตอร์ ผู้ทำงานด้านการแจ้งเตือนภัยพิบัติโปรดติตตามสถานการณ์อย่างใกล้ชิด
วันที่ 18 มกราคม ดาวเทียม SDO ตรวจจับเปลวพลังงานขนาดใหญ่ แต่ยังไม่เกิดเป็นพายุสุริยะขึ้น ในขณะที่ปริมาณจุดดับมีแนวโน้มเพิ่มตัวสูงขึ้น
วันที่ 19 มกราคม เกิดพายุสุริยะขนาดใหญ่มีทิศทางมาที่โลกโดยตรงซึ่งจะส่งผลกระทบต่อโลกในวันที่ 22-25 มกราคม ในรูปแบบของสภาพาอากาศแปรปรวนครั้งใหญ่อีกครั้งและควรติดตามสถานการณ์อย่างใกล้ชิด และมีความเสี่ยงต่อการเกิดแผ่นดินไหวขนาดกลางระหว่าง 5.9 ถึง 7.5 ริตเตอร์ที่ใดที่หนื่งในโลก ขอให้ผู้ทีสนใจสถานการณ์ภัยพิบัติติดตามสถานการณ์อย่างใกล้ชิด
วิดิโอจำลองการแพร่กระจายของมวลที่มีประจุไฟฟ้าของพายุสุริยะ http://iswa.gsfc.nasa.gov/downloads/20120119_183400_anim.tim-den.gif ซึ่งคาดว่าจะพลังงานนี้จะมาถึงโลกประมาณวันที่ 21 มกราคม เวลา 22:30 UTC+/- 7 ชั่วโมง ผู้ทำงานแจ้งเตือนภัยพิบัติโปรดติดตามสถานการณ์อย่างใกล้ชิด
วันที่ 23 มกราคม เกิดเหตุระเบิดครั้งใหญ่ในเวลาประมาณ 4:40 UTC ส่งพายุสุริยะความเร็วสูงมาที่โลก คาดว่ามวลแนวหน้าจะมาถึงโลกภายใน 24 ชั่วโมง และ มวลหลักจะมาถึงภายในวันที่ 27 มกราคม ผลจากพายุครั้งนั้จะทำให้เกิดสภาพอากาศแปรปรวนครั้งใหญ่เป็นหลักและ มีความเสี่ยงต่อแผ่นดินไหวในระดับเกิน 6 ริตเตอร์ ภายใน 1-4 วัน พี้นที่เสี่ยงภัยพิบัติเป็นพิเศษได้แก่บริเวณทวีปออสเตรเลีย ทวีปแอฟริกาใต้ และ อเมริกาเหนือ แต่โดยรวมจะมีการเปลี่ยนแปลงของสภาพอากาศในหลายๆพี้นที่ทั่วโลก
วันที่ 26 มกราคม เกิดพายุสุริยะขนาดใหญ่อีกครั้งแต่ไม่ใหญ่เท่าวันที่ 23 มกราคม ทิศทางออกไปทางทิศเหนือไม่โดนโลกโดยตรง แต่มีพลังงานบางส่วนมาที่โลก คาดว่าโลกจะได้รับผลกระทบระหว่างวันที่ 29-31 มกราคมในรูปแบบของการเปลี่ยนแปลงทางสภาพอากาศมากกว่าปกติอีกครั้ง
ตารางสรุปเหตุการณ์ที่ดวงอาทิตย์และการคาดการณ์ภัยธรรมชาติบนโลกวันที่ | ปฏิกริยาดวงอาทิตย์ | ระดับความรุนแรง | พลังงานที่กระทบโลก | ระดับความรุนแรง | ความน่าจะเป็นในการเกิดเหตุการณ์ภัยพิบัติ จากพลังงานที่กระทบโลก |
16 มค | พายุสุริยะ 5:24 UTC ระเบิดรอบด้าน | มาก | Xray C6 | ปานกลาง-มาก | 45 |
17 มค | X-ray M1 | ปานกลาง-มาก | จุดดับขยายตัว 15 มค X-ray M1 17 มค | มาก ปานกลาง-มาก | 50 90 |
18 มค | X-ray M1 พายุสุริยะ 15:39 UTC ด้านเดียวกับโลก | - มาก | จุดดับขยายตัว พายุสุริยะ 16 มค X-ray M1 | มาก มาก ปานกลาง-มาก | 85 75 90 |
19* มค | พายุสุริยะ 1515 UTC ด้านเดียวกับโลก X-ray M3 จุดดับขยายตัว | มาก | พายุสุริยะ 16 มค X-ray M3 | มาก ปานกลาง-มาก | 90 |
20 มค | - | - | พายุสุริยะ 16 มค | มาก | 90 |
21 มค | พายุสุริยะ 11:54 UTC ด้านเดียวกับโลก | ปานกลาง-มาก | พายุุสุริยะ 18 มค พายุสุริยะ 19 มค | มาก มาก | 60 80 |
22 มค | พายุสุริยะ 11:54 UTC ด้านเดียวกับโลก พายุสุริยะ 15:24 UTC ด้านตรงข้ามโลก | ปานกลกาง-มาก มาก | พายุุสุริยะ 18 มค พายุสุริยะ 19 มค จุดดับขยายตัว 19 มค | ปานกลาง-มาก มาก ปานกลาง-มาก | 85 90 |
23 มค | พายุสุริยะ 4:40 UTC ด้านเดียวกับโลก และรอบด้าน X-ray M9 | มาก ปานกลาง-มาก | พายุสุริยะ 19 มค X-ray M9 | มาก ปานกลาง-มาก | 95 |
24 มค | พายุสุริยะ 20:39 UTC ด้านเดียวกับโลก จุดดับหดตัว 8 UTC | ปานกลาง-มาก ปานกลาง-มาก | พายุสุริยะ 21 มค พายุสุริยะ 23 มค | ปานกลาง-มาก มาก | 65 80 |
25 มค | - | - | พายุสุริยะ 21 มค จุดดับหดตัว | ปานกลาง-มาก ปานกลาง-มาก | 90 70 |
26 มค* | พายุสุริยะ 5:00 UTC ทิศเหนือไม่โดนโลก X-ray C6 | มาก ปานกลาง | พายุสุริยะ 22 มค พายุสุริยะ 23 มค จุดดับหดตัว 24 มค X-ray C6 | ปานกลาง-มาก มาก ปานกลาง-มาก ปานกลาง | 90 95 85 |
27 มค | พายุสุริยะ 22 มค พายุสุริยะ 23 มค พายุสุริยะ 24 มค จุดดับหดตัว 24 มค | ปานกลาง-มาก มาก ปานกลาง-มาก ปานกลาง-มาก | 90 95 80 85 | ||
28 มค | พายุสุริยะ 24 มค | ปานกลาง-มาก | 90 | ||
29 มค | พายุสุริยะ 26 มค | ปานกลาง-มาก | 80 | ||
30 มค | พายุสุริยะ 26 มค | ปานกลาง-มาก | 90 | ||
31 มค | พายุสุริยะ 26 มค | ปานกลาง-มาก | 85 | ||
เหตุการณ์รอบโลก
17 มกราคม
- พลังงานประจุบวกนอกโลกเพิ่มขึ้นสู่ในระดับสูงตั้งแต่เวลา 0 UTC
- เกิด Coldwave ที่ประเทศอินเดีย http://hisz.rsoe.hu/alertmap/site/?pageid=event_summary&edis_id=CW-20120117-33807-IND
18 มกราคม
- เกิด Heatwave ที่ประเทศอัฟริกาใต้ http://hisz.rsoe.hu/alertmap/site/?pageid=event_summary&edis_id=HT-20120118-33827-ZAF
- เกิดพายุหิมะที่รัฐ Oregon สหรัฐอเมริกา http://hisz.rsoe.hu/alertmap/site/?pageid=event_summary&edis_id=SS-20120118-33824-USA
- เมือง Seattle กำลังเจอกับพายุหิมะรุนแรงที่สุดในรอบหลายสิบปีที่กำลังมาถึงภายใน 24 ชั่วโมง http://www.accuweather.com/en/weather-news/seattle-biggest-snowstorm-in-d/60356
- เกิดทอร์นาโดในรัฐอินเดียน่า สหรัฐอเมริกา http://hisz.rsoe.hu/alertmap/site/?pageid=event_summary&edis_id=TO-20120118-33820-USA
- พายุหิมะที่ประเทศแคนนาดา http://hisz.rsoe.hu/alertmap/site/?pageid=event_summary&edis_id=SS-20120118-33815-CAN
- พายุหิมะที่รัฐ Washington สหรัฐอเมริกา http://hisz.rsoe.hu/alertmap/site/?pageid=event_summary&edis_id=SS-20120118-33816-USA
- สภาพความแห้งแล้วที่ประเทศ Paraguay http://hisz.rsoe.hu/alertmap/site/?pageid=event_summary&edis_id=DR-20120118-33834-PRY
- เกิดทอร์นาโดที่รัฐ Tennessee ประเทศสหรัฐอเมริกา http://hisz.rsoe.hu/alertmap/site/?pageid=event_summary&edis_id=TO-20120118-33833-USA
- สภาพาอากาศแปรปรวนหนักที่ประเทศ Mozambique ทวีป แอฟริกา http://hisz.rsoe.hu/alertmap/site/?pageid=event_summary&edis_id=ST-20120118-33830-MOZ
- ในเวลาประมาณ 22 UTC พายุสุริยะได้มาถึงโลกอย่างเป็นทางการแต่เข้ามาในช่วงสั้นๆ ซึ่งจะทำให้เกิดผลกระทบไม่รุนแรงมากตามที่คาดการณ์ไว้ล่วงหน้า
- รายงานข่าวทอร์นาโด่ก่อตัวอย่างน้อย 10 ลูกภายในหนึ่งวันที่สหรัฐอเมริกา http://www.reuters.com/article/2012/01/18/us-tornadoes-idUSTRE80H21X20120118
19 มกราคม*
- แผ่นดินไหวขนาด 6.1 ริตเตอร์เวลา 6:48 UTC บริเวณประเทศนิวซีแลนด์ http://www.emsc-csem.org/Earthquake/earthquake.php?id=251551
- น้ำท่วมฉับพลันสูงถึง 3 เมตรที่ประเทศแอฟริกาใต้ http://hisz.rsoe.hu/alertmap/site/?pageid=event_summary&edis_id=FF-20120119-33838-ZAF
- เกิด Coldwave ที่ประเทศอินเดีย http://hisz.rsoe.hu/alertmap/site/?pageid=event_summary&edis_id=CW-20120119-33835-IND
- พายุก่อตัวบริเวณมหาสมุทรอินเดีย http://hisz.rsoe.hu/alertmap/read/index.php?pageid=tstorm_read&trid=659
- ดินถล่มที่ประเทศฟิลิปปินส์ http://hisz.rsoe.hu/alertmap/site/?pageid=event_summary&edis_id=LS-20120119-33841-PHL
20 มกราคม
- น้ำท่วมฉับพลันที่ประเทศมาเลเซีย http://hisz.rsoe.hu/alertmap/site/?pageid=event_summary&edis_id=FF-20120120-33856-MYS
- เกิดทอร์นาโดที่ประเทศออสเตรเลีย http://hisz.rsoe.hu/alertmap/site/?pageid=event_summary&edis_id=TO-20120120-33855-AUS
- สภาพอากาศแปรปรวนหนักทางฝั่งตะวันตกของประเทศออสเตรเลีย http://hisz.rsoe.hu/alertmap/site/?pageid=event_summary&edis_id=ST-20120120-33853-AUS
- น้ำท่วมในรัฐ Washington สหรัฐอเมริกา http://hisz.rsoe.hu/alertmap/site/?pageid=event_summary&edis_id=FL-20120120-33852-USA
- รายงานข่าวสภาพอากาศวิกฤติทางฝั่งตะวันตกเฉียงเหนือของสหรัฐ http://www.dailymail.co.uk/news/article-2088576/Winter-storm-Pacific-Northwest-gets-16-inches-snow-10-tornadoes-hit-central-US.html#ixzz1jzg4zHGR
- เหตุการณ์ไฟใหม้ป่าที่รัฐ Nevada สหรัฐอเมริกา http://www.dailymail.co.uk/news/article-2089246/State-emergency-called-Nevada-10-000-flee-wild-engulfed-10-homes.html#ixzz1jze0H9Xi
- พายุหิมะที่รัฐมิชาแกน สหรัฐอเมริกา http://hisz.rsoe.hu/alertmap/site/?pageid=event_summary&edis_id=SS-20120120-33865-USA
- พายุหิมะที่รัฐ Illinois สหรัฐอเมริกา http://hisz.rsoe.hu/alertmap/site/?pageid=event_summary&edis_id=SS-20120120-33863-USA
- แผ่นดินไหวขนาด 5.8 ริตเตอร์ เวลา 20:32 UTC ที่ประเทศอินโดนีเซีย http://www.emsc-csem.org/Earthquake/earthquake.php?id=251765
21 มกราคม
- ดาวเทียม ACE ตรวจสอบการเปลี่ยนแปลงของความหนาแน่นประจุไฟฟ้าและลมสุริยะอย่างฉับพลันในเวลาประมาณ 4 UTC บ่งบอกว่าแนวหน้าที่พายุสุริยะมาถึงแล้ว ซึ่งมวลหลักของพายุสุริยะมาถึงอีก 24 ชั่วโมงถัดมา โดยดูจากรูปด้านล่าง
- แผ่นดินไหวขนาด 6.3 ริตเตอร์ เวลา 18:47 UTC บริเวณประเทศเม็คซิโก http://www.emsc-csem.org/Earthquake/earthquake.php?id=251867
- เกิดพายุทอร์นาโดที่รัฐ Alabama สหรัฐอเมริกา http://content.usatoday.com/communities/ondeadline/post/2012/01/report-loss-of-life-major-damage-from-alabama-tornado/1
22 มกราคม
- มวลหลักของพายุสุริยะจากวันที่ 19 มกราคม มาถึงโลกอย่างเป็นทางการในเวลาประมาณ 4 UTC
- เกิดพายุสนามแม่เหล็กไฟฟ้าบริเวณขั้วโลกระดับ 4 ในเวลาประมาณ 8 UTC
- เกิดแผ่นดินไหวขนาด 6.0 ริตเตอร์ เวลา 553 UTC ที่ขั้วโลกใต้ http://www.emsc-csem.org/Earthquake/earthquake.php?id=251910
- พายุหิมะที่รัฐ Utah สหรัฐอเมริกา http://hisz.rsoe.hu/alertmap/site/?pageid=event_summary&edis_id=SS-20120122-33876-USA
- พายุลูกเห็บที่เมือง Oakland สหรัฐอเมริกา http://hisz.rsoe.hu/alertmap/site/?pageid=event_summary&edis_id=HS-20120122-33872-USA
- น้ำท่วมฉับพลันที่ประเทศสิงคโปร์ http://hisz.rsoe.hu/alertmap/site/?pageid=event_summary&edis_id=FF-20120122-33875-SGP
- น้ำท่วมฉับพลันที่เกาะฟิจิ http://abcnews.go.com/US/winter-storm-brings-major-snowfall-year-northeast/story?id=15411309#.Txy0Um9SSa8
- น้ำท่วมฉับพลันที่รัฐ Orgon สหรัฐอเมริกา http://hisz.rsoe.hu/alertmap/site/?pageid=event_summary&edis_id=FL-20120122-33881-USA
23 มกราคม
- ลมสุริยะลดลงอย่างฉับพลันในเวลาประมาณ 6 UTC
- ดินถล่มที่รัฐ Washington สหรัฐอเมริกา http://hisz.rsoe.hu/alertmap/site/?pageid=event_summary&edis_id=LS-20120123-33888-USA
- เกิด Heatwave ที่ประเทศออสเตรเลีย http://hisz.rsoe.hu/alertmap/site/?pageid=event_summary&edis_id=HT-20120123-33886-AUS
- แผ่นดินไหวขนาด 4.7 ริตเตอร์ที่หมู่เกาะในฮาวาย http://www.huffingtonpost.com/2012/01/23/big-island-hawaii-earthquake_n_1222813.html
- เกิดพายุที่รัฐ Alabama ประเทศสหรัฐอเมริกา http://hisz.rsoe.hu/alertmap/site/?pageid=event_summary&edis_id=ST-20120123-33896-USA
24 มกราคม
- แผ่นดินไหวที่เกาะฟิจิ ขนาด 6.4 ริตเตอร์ เวลา 0:52 UTC คาดว่าเกิดจากพลังงานแนวหน้าของพายุสุริยะจากวันที่ 23 มกราคม ที่ผ่านมา http://www.emsc-csem.org/Earthquake/earthquake.php?id=252165
- น้ำท่วมหนักที่ประเทศ Malawi ในทวีปแอฟริกา http://hisz.rsoe.hu/alertmap/site/?pageid=event_summary&edis_id=FL-20120124-33900-MWI
- เกิด Coldwave ที่ประเทศอินเดีย http://hisz.rsoe.hu/alertmap/site/?pageid=event_summary&edis_id=CW-20120124-33901-IND
- เวลาประมาณ 14 UTC ดาวเทียม ACE ตรวจจับการแปรปรวนของสนามแม่เหล็กไฟฟ้าบ่งบอกว่า พลังงานบางส่วนของพายุสุริยะวันที่ 23 มกราคม มาถึง ในขณะที่เวลาประมาณ 23 UTC เกิดการเปลี่ยนแปลงของลมสุริยะอย่างฉับพลัน แต่ยังไม่สามารถตรวจจับมวลขนาดใหญ่ของพายุสุริยะครั้งนี้ได้ เพื่อความไม่ประมาทควรสังเกตการณ์ต่อเนื่องถึงวันที่ 27 มกราคม
- รายงานแผ่นดินถล่มเนื่องจากฝนตกหนักที่ปาปัวนิวกีนี http://hisz.rsoe.hu/alertmap/site/?pageid=event_summary&edis_id=LS-20120124-33907-PNG
- น้ำท่วมฉับพลันที่ประเทศออสเตรเลีย http://hisz.rsoe.hu/alertmap/site/?pageid=event_summary&edis_id=ST-20120124-33898-AUS
- เกิดพายุสนามแม่เหล็กไฟฟ้าระดับ 5 ในเวลาประมาณ 22 UTC
- พายุไซโคลน Funso เพิ่มพลังงานโดยเปลี่ยนจาก Cat II เป็น Cat IV http://hisz.rsoe.hu/alertmap/read/index.php?pageid=tstorm_read&trid=660
25 มกราคม
- ความเร็วลมสุริยะยังอยู่ในระดับสูงเกิน 600 km/s อย่างต่อเนื่องโดยที่ความหนาแน่นประจุไฟฟ้าอยู่ในระดับต่ำ เหตุการณ์นี้ไม่เคยเกิดขึ้นมากก่อนในรอบ 3 ปี ซึ่งมีความเป็นไปได้ว่าสภาพอากาศโลกจะเป็นปกติไม่แปรปรวนมากนักในช่วงนี้
- ปริมาณรังสีคอสมิกที่ประเทศรัสเซียลดลงอย่างฉับพลันในเวลาประมาณ 0 UTC สัมพันธ์กับช่วงเวลาการเกิดพายุสนามแม่เหล็ก
- รายงานการเกิดทอร์นาโดที่รัฐเทคซัส ประเทศสหรัฐอเมริกา http://www.kvue.com/news/Possible-tornado-spotted-in-Central-Texas-138031758.html
- รายงานน้ำท่วมที่รัฐเทคซัส ประเทศสหรัฐอเมริกา http://hisz.rsoe.hu/alertmap/site/?pageid=event_summary&edis_id=FF-20120125-33916-USA
- รายงานน้ำท่วมที่ประเทศออสเตรเลีย http://hisz.rsoe.hu/alertmap/site/?pageid=event_summary&edis_id=FL-20120125-33910-AUS
- ดินถล่มที่ประเทศปากีสถาน http://hisz.rsoe.hu/alertmap/site/?pageid=event_summary&edis_id=LS-20120125-33912-PAK
- เกิดความแปรปรวนของสนามแม่เหล็กบริเวณขั้วโลกในเวลาประมาณ 8-12 UTC
26 มกราคม
- แผ่นดินไหวขนาด 5.1 ริตเตอร์ เวลา 4:24 UTC ที่ประเทศกรีก http://www.emsc-csem.org/Earthquake/earthquake.php?id=252504
- เกิดพายุลูกใหม่ก่อตัวบริเวณประเทศออสเตรเลีย ซึ่งเป็นโซนที่ทำการคาดการณ์ไว้ล่วงหน้าว่าเป็นโซนหนึ่งจะมีภัยพิบัติมากกว่าปกติ http://hisz.rsoe.hu/alertmap/read/index.php?pageid=tstorm_read&trid=661